Font size
  • A-
  • A
  • A+
Site color
  • R
  • A
  • A
  • A
Pratoolee e-Learning System
  • English ‎(en)‎ Thai ‎(th)‎
  • เข้าสู่ระบบ
ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

  1. หน้าหลัก
  2. รายวิชาทั้งหมด
  3. กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 1 (current)
  • 2
  • » ต่อไป
รายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.2 ครูชวลิต สิติวรรณา
Chawalit Sitiwanna

รายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.2 ครูชวลิต สิติวรรณา

ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่1 ครูถนอมศรี  ขวกเขียว
tanomsri Kougkkiaw

ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่1 ครูถนอมศรี ขวกเขียว

ศึกษา บอก วันเดือนปี และการนับช่วงเวลาตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เรียงลำดับเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันตามวันเวลาที่เกิด บอกประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัว โดยสอบถามผู้เกี่ยวข้อง ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม สิ่งของเครื่องใช้ การดำเนินชีวิตของตนเอง พ่อ แม่ปู่ย่า ตายาย และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลกระทบต่อตนเองในปัจจุบัน บอก อธิบาย ความหมายและความสำคัญของสัญลักษณ์สำคัญของชาติไทย สถานที่ ที่สำคัญที่เป็นแหล่งวัฒนธรรมในชุมชน และระบุสิ่งที่ตนรักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น ปฏิบัติตนด้วยการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ไว้ได้แก่ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และวิธีการทางประวัติศาสตร์ ตระหนักในความสำคัญ คุณค่า และความภาคภูมิใจในสิ่งของ สถานที่ ภาษา วัฒนธรรมประเพณี ของท้องถิ่น สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน อยู่ในสังคมอย่างสันติสุข และเกิดประโยชน์สูงสุด รหัสตัวชี้วัด ส 4.1 ป.4 / 1 ป. 4 / 2 ป. 4 / 3 ส 4.2 ป. 1 / 1 ป4 / 2 ส 4.3 ป.1 / 1 ป.1 /2 ป. 1 / 3 รวมตัวชี้วัด 8 ตัวชี้วัด


สังคมศึกษา ป.1 ครูพัชรินทร์   พลอยทับทิม
phatcharin Ploythabthim

สังคมศึกษา ป.1 ครูพัชรินทร์ พลอยทับทิม

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

 

ส11101                                                    กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา  ศาสนา  และวัฒนธรรม                                                              ชั้นประถมศึกษาปีที่  1                                                                           เวลา  80  ชั่วโมง

            ศึกษาพุทธประวัติ  หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ  ประวัติสาวก  ชาดก / เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง  ความสำคัญ  และเคารพพระรัตนตรัย  ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท  3  ในพระพุทธศาสนา  หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ แสดงตนเป็นพุทธมามกะ  หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนา  บำเพ็ญประโยชน์ต่อวัดหรือศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ  ปฏิบัติตนในศาสนพิธี  พิธีกรรม  และวันสำคัญทางศาสนาตามที่กำหนด  เห็นคุณค่าและสวดมนต์  แผ่เมตตา  มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด  ชื่นชมและปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก  ชาดก / เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด

            ศึกษาโครงสร้าง  บทบาท  สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน  ประโยชน์ของการ  ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน  ความสามารถและความดีของตนเอง  ผู้อื่น  และบอกผล จากการกระทำนั้น  ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน  ร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมในครอบครัวและโรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย 

            ศึกษาถึงสินค้าและบริการที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน  การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวันที่ไม่เกินตัว  เหตุผลความจำเป็นที่คนต้องทำงานอย่างสุจริตใช้ทรัพยากรในชีวิตประจำวันอย่างประหยัดและเห็นประโยชน์

ของการออม 

            ศึกษาสิ่งต่าง ๆ  รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น  ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง  ระยะ  ทิศของสิ่งต่าง ๆ  รอบตัว  การใช้แผนผังง่าย ๆ  ในการแสดงตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ในห้องเรียน  ผลกระทบของธรรมชาติที่มีต่อความเป็นอยู่มนุษย์  สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน  เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว  ร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน

 

รหัสตัวชี้วัด

ส1.1  ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4

ส1.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3    

ส2.1 ป.1/1, ป.1/2  

ส2.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3     

ส3.1  ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3  

ส3.2 ป.1/1      

ส5.1  ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5 

ส5.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3

รวมทังหมด  32  ตัวชี้วัด

 


วิชาประวัติศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  ครูแพรวพรรณ  ติใหม่
praewpan timaipreawpan timai

วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ครูแพรวพรรณ ติใหม่

คำอธิบายรายวิชา
 เวลาที่แสดงเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในครอบครัวหรือในชีวิตของตนเอง การเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตประจำวันของคนในชุมชน ของตนจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลกระทบ บุคคลที่ทำประโยชน์ต่อท้องถิ่นหรือประเทศชาติ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย ที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ตระหนัก เห็นคุณค่าและ ความสำคัญของการนับช่วงเวลาตามปฏิทิน เรียงลำดับเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ตามเวลาที่เกิดขึ้น ประวัติความเป็นมาของตนเอง และครอบ ครัว ความเปลี่ยนแปลงของการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนหรือประเทศชาติ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลกระทบต่อตนเองในปัจจุบัน ประวัติศาสตร์พระกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ไทยที่สถาปนาอาณาจักรไทย พระราชประวัติและพระกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลปัจจุบัน วีรกรรมขอบรรพบุรุษไทยสิ่งที่ตนรักและภาคภูมิใจ ตลอดจนวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย ที่น่าภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ 

รหัสตัวชี้วัด ส. ๔.๑ ป. ๒/๑ ป. ๒/๒ ส. ๔.๒ ป. ๒/๑ ป. ๒/๒ ป. ๒/๓ ส. ๔.๓ ป. ๒/๑ ป. ๒/๒ ป. ๒/๓


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ป.2 ครูพรทิพา พงศ์พนขันธ์
porntipa pongpanakan

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ป.2 ครูพรทิพา พงศ์พนขันธ์

คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ส๑๒๑๐๑   กลุ่มสาระการเรียนรู้  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

เวลาเรียน  ๒   ชั่วโมง/สัปดาห์                                                            เวลา     ๘๐    ชั่วโมง

 

          ศึกษา วิเคราะห์ เรื่องความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ประวัติศาสนา คัมภีร์และหลักธรรมของศาสนาต่างๆ การปฏิบัติตนในพิธีกรรมทางศาสนา การทำความดีตามหลักธรรมของศาสนา ข้อตกลง กฎ ระเบียบ ในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน การยอมรับความแตกต่างของบุคคลในสังคม สิทธิส่วนบุคคล การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน บทบาทอำนาจของบุคคล มรรยาทไทย เช่น การแสดงความเคารพ การเดิน การยืน การนั่ง การนอน เป็นต้น อาชีพในชุมชน รายรับ-รายจ่ายของครอบครัวและตนเอง การออมเงิน การซื้อขายแลกเปลี่ยน ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ซื้อ ผู้ขาย ทรัพยากรการผลิต สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความสำคัญ การเปลี่ยนแปลงการรักษาและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม ตำแหน่งของสิ่งต่างๆ  เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ โลกและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ

               โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหา

               เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีหลักธรรมในการดำเนินชีวิต รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ และสามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างสันติสุข

 

ตัวชี้วัด

ส 1.1  ป.2/1, ป.2/2,  ป.2/3,           ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7
ส 1.2            ป.2/1,
            ป.2/2
ส 2.1            ป.2/1,  ป.2/2,  ป.2/3,  ป.2/4
ส 2.2            ป.2/1,
            ป.2/2
ส 3.1            ป.2/1,  ป.2/2, ป.2/3,  ป.2/4
ส 3.2            ป.2/1,
                 ป.2/2
ส 5.1  ป.2/1, ป.2/2,  ป.2/3
ส 5.2            ป.2/1,  ป.2/2,
  ป.2/3,  ป.2/4

รวม     28      ตัวชี้วัด

 

 

 

 


เมืองเก่าลำพูน ชั้นประถมศึกษาปีที่3 ครูอาทิตยา โพธารา (ครูนักศึกษา)
Atitaya potara

เมืองเก่าลำพูน ชั้นประถมศึกษาปีที่3 ครูอาทิตยา โพธารา (ครูนักศึกษา)

ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความหมายและที่มาของศักราชที่ปรากฏในปฏิทิน วิธีการเทียบคริสตศักราช กับพุทธศักราช และใช้ศักราชในการบันทึกเหตุการณ์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว วิธีสืบค้นเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียน และชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้เส้นเวลา (Timeline) ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน ปัจจัยที่ทำให้เกิดวัฒนธรรมและประเพณีในชุมชน ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยทางภูมิศาสตร์ และปัจจัยทางสังคม พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจโดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ตามลำดับ พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถโดยสังเขป วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีส่วนปกป้องประเทศชาติ โดยใช้ทักษะการเปรียบเทียบ การคำนวณ การเชื่อมโยง การอธิบาย การสำรวจ การสังเกต การสอบถาม การอ่าน การฟัง การสรุปความ การเขียน และการเล่าเรื่อง เห็นคุณค่ามีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักในความเป็นไทย มีความมุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัยในตนเอง ใฝ่เรียนรู้ มีความซื่อสัตย์สุจริต ใช้ชีวิตความเป็นอยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ ด้วยคุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ส 4.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 4.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 4.3 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 รวมทั้งสิ้น 9 ตัวชี้วัด


ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ครูจันทร์จิราพร  ปวนกาศ
janjiraporn paunkat

ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ครูจันทร์จิราพร ปวนกาศ

สังคมศึกษาฯ  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ครูจันทร์จิราพร  ปวนกาศ
janjiraporn paunkat

สังคมศึกษาฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ครูจันทร์จิราพร ปวนกาศ

ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (ครูณิชาภา)
Nichapa jinakard

ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (ครูณิชาภา)

สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
sudaporn thimaithog

สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ครูเอกพันธ์  การเร็ว
ekkapunt karnreaw

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ครูเอกพันธ์ การเร็ว

รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

คำอธิบายรายวิชา

        ความสำคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ สาวก และศาสนิกชน และความสำคัญของพระไตรปิฎก คัมภีร์ พระรัตนตรัย ไตรสิกขาและหลักธรรม การสวดมนต์แผ่เมตตา สมาธิและพัฒนาจิต พิธีกรรม วันสำคัญทางศาสนา มรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ และหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี สิทธิเด็ก วัฒนธรรมไทยภูมิปัญญาท้องถิ่น การปกครองส่วนท้องถิ่นบทบาทหน้าที่ และวิธีการเข้าดำรงตำแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  การผลิตสินค้าและบริการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ์ ธนาคาร ผลดีและผลเสียของการกู้ยืม พิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองจิจูด ภูมิลักษณ์ที่สำคัญในภูมิภาคของตนเอง ลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและ การย้ายถิ่นของประชากร ในภูมิภาคก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมในภูมิภาค การรักษาและการทำลายสภาพแวดล้อม และเสนอแนวคิด ในการรักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค  มีความรู้ ความ เข้าใจความสำคัญของพระพุทธศาสนา  มรดกทางวัฒนธรรมและหลักในการพัฒนาชาติไทย ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนดเห็นคุณค่า และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก และศาสนิกชน และความสำคัญของพระไตรปิฎก คัมภีร์ เสนอวิธีการปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็กเห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการ    ดำเนินชีวิตในสังคมไทยประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ            ทำกิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน รู้ตำแหน่ง ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง และเสนอแนวคิด ในการรักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค

รหัสตัวชี้วัด

ส ๑.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ ป. ๕/๔ ป. ๕/๕ ป. ๕/๖ ป. ๕/๗

ส ๑.๒ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓

ส ๒.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ ป. ๕/๔

ส ๒.๒ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓

ส ๓.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓

ส๓.๒ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒

ส ๕.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓

ส ๕.๒ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓

รวม ๒๘ รหัสตัวชี้วัด


ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ekkapunt karnreaw

ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

เมืองเก่าลำพูน (ครูณิชาภา จินะกาศ)
Nichapa jinakard

เมืองเก่าลำพูน (ครูณิชาภา จินะกาศ)

สังคมศึกษาฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่6ครูณิชาภา จินะกาศ
Nichapa jinakard

สังคมศึกษาฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่6ครูณิชาภา จินะกาศ

ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6ครูณิชาภา จินะกาศ
Nichapa jinakard

ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6ครูณิชาภา จินะกาศ

ศึกษาความหมายและความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบันโดยสังเขป เชื่อมโยงและเปรียบเทียบกับประเทศไทย ความเป็นมา และความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนโดยสังเขป        ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชาติไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ ในเรื่องเกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักร ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครอง พัฒนาการทางด้านต่าง ๆ โดยสังเขป ผลงานของบุคคลสำคัญ ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช    สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว   และภูมิปัญญาไทยที่สำคัญที่น่าภาคภูมิใจ ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้โดยใช้ทักษะการอ่าน การสืบค้นสืบค้นเหตุการณ์สำคัญด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์   การสำรวจ   การวิเคราะห์ การเชื่อมโยง การสังเคราะห์ การเปรียบเทียบ การอธิบาย การเขียนเรียงความ การจัดทำโครงงานและการจัดนิทรรศการเพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของประเทศเพื่อนบ้านที่มีความสัมพันธ์กับประเทศไทย เกิดความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย และความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม ความพากเพียรพยายามของบรรพบุรุษที่ได้ปกป้อง และสร้างสรรค์ความเจริญให้บ้านเมืองตกทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบต่อถึงปัจจุบัน

วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ชั้น ม.1  ครูชวลิต สิติวรรณา
Chawalit Sitiwanna

วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ชั้น ม.1 ครูชวลิต สิติวรรณา

มาตรฐานและตัวชีวัด

ส 5.1 ม.1/1 วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย โดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์สืบค้น


วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ครูพัชรีพรรณ ทองพรหม
Patchareepan Thongprom

วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ครูพัชรีพรรณ ทองพรหม

   ศึกษา วิเคราะห์ ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์และความสำคัญของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคต  ที่มาและตัวอย่างการใช้ศักราชในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย วิธีการเทียบศักราชตามแบบต่างๆ  การนำวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษาเรื่องราวของประวัติศาสตร์ไทยที่มีอยู่ในท้องถิ่นและเหตุการณ์สำคัญสมัยสุโขทัย  ประวัติศาสตร์ไทยสมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทยโดยสังเขป  รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์  กระบวนการสืบค้นข้อมูล  กระบวนการปฏิบัติ  กระบวนการกลุ่ม  กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ  กระบวนการแก้ปัญหา  และวิธีการทางประวัติศาสตร์

                เพื่อให้เกิดความรู้  ความเข้าใจถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ  เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย พัฒนาการด้านต่างๆ วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย  มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านรักชาติ  ศาสน์  กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต  มีวินัย  ใฝ่เรียนรู้  มุ่งมั่นในการทำงาน  รักความเป็นไทย  และมีจิตสาธารณะ

ตัวชี้วัด                 

ส 4.1      ม. 1/1    ม. 1/2    ม. 1/3     ส 4.3      ม. 1/1       รวม        4              ตัวชี้วัด


วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม   ม.2 ครูชวลิต สิติวรรณา
Chawalit Sitiwanna

วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.2 ครูชวลิต สิติวรรณา

ประวัติศาสตร์ ม.2 ครูชวลิต สิติวรรณา
Chawalit Sitiwanna

ประวัติศาสตร์ ม.2 ครูชวลิต สิติวรรณา

วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  ม.3 ครูชวลิต สิติวรรณา
Chawalit Sitiwanna

วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.3 ครูชวลิต สิติวรรณา

  • 1 (current)
  • 2
  • » ต่อไป

Stay in touch

cmweborigin.com

  • https://cmweborigin.com/
  • Mobile : +55 (98) 00123-45678
  • willianmano@conecti.me
Data retention summary

Proudly made with

Moodle logo

Made with by conecti.me